#ARC

จิตวิทยาด้านมืด = Dark psychology

ผู้แต่ง : มายด์, โจนาทาน ชื่อเรื่อง : จิตวิทยาด้านมืด = Dark psychology พิมพลักษณ์ : กรุงเทพฯ : แอร์โรว์, 2567 รูปเล่ม : 326 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซม สาระสังเขป : จิตวิทยาด้านมืดถือได้ว่าเป็นการศึกษาสภาพของมนุษย์ โดยสัมพันธ์กับลักษณะทางจิตวิทยาของคนประเภทต่าง ๆ ที่คอยตามล่าผู้อื่น ความจริงก็คือมนุษย์ทุกคนมีลักษณะที่อาจตกเป็นเหยื่อของผู้อื่น เนื่องจากบรรทัดฐานทางสังคม มโนธรรมของมนุษย์ และปัจจัยอื่นๆ ไม่เท่ากัน จึงมีประชากรจำนวนไม่น้อยที่ไม่สามารถควบคุมสัญชาตญาณด้านมืดของตนและพวกเขาก็ทำร้ายผู้อื่นด้วยวิธีที่ดูเหมือนไม่อาจจินตนาการได้ เนื้อหาภายในหนังสือเล่มนี้คุณจะได้เรียนรู้ 1. เทคนิคจิตวิทยาด้านมืดที่ใช้โดยผู้ควบคุมจิตคืออะไร 2. อะไรคือผลข้างเคียงที่จิตวิทยาด้านมืดมีต่อจิตใจของผู้คน 3. คนที่มีนิสัยมืดมนประพฤติตนอย่างไรจนสามารถเข้ามาควบคุมชีวิตของคุณได้ 4. คนที่มีพฤติกรรมเป็นพิษ (Toxic) ชื่นชอบเลือกเหยื่อประเภทใด 5. กลยุทธ์ง่ายๆ ในการอ่านภาษากายอย่างรวดเร็ว 6. วิธีสังเกตการจัดการอารมณ์อย่างซ่อนเร้นในความสัมพันธ์และในที่ทำงาน 7. วิธีง่าย ๆ ในการหลีกเลี่ยงการล้างสมอง 8. วิธีวิเคราะห์ผู้ค

จิตวิทยาด้านมืด = Dark psychology Read More »

การคิดเป็นภาพ 2 = Visual thinking

ผู้แต่ง : การคิดเป็นภาพ 2 = Visual thinking ชื่อเรื่อง : แบรนด์, วิลเลมเมียน พิมพลักษณ์ : กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2564 ครั้งที่พิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่ 1 รูปเล่ม : 144 หน้า : ภาพประกอบ ; 25 ซม สารบัญ : — ความสำคัญของการทำด้วยภาพ — ยกระดับพื้นฐาน — มาทำด้วยภาพกันเถอะ — ธุรกิจรายวัน: ฉัน — ธุรกิจรายวัน: เรา — ธุรกิจรายวัน: พวกเรา — วาดต่อไป ทำต่อไป สาระสังเขป : การคิดเป็นภาพมาแรง! บริษัทต่าง ๆ ต้องเปลี่ยนแปลงและต้องเปลี่ยนให้เร็วทันการณ์ ฉะนั้น จึงต้องมีเครื่องมือใหม่ ๆ “การคิดเป็นภาพ 2” คือ การทำด้วยภาพ โดยสอนวิธีใช้เครื่องมือเหล่านี้ให้เหมาะกับงานและช่วยปรับปรุงทักษะด้านภาพกับวิธีทำด้วยภาพของคุณ หนังสือเล่มนี้แนะนำวิธีปรับใช้การคิดเป็นภาพกับธุรกิจและการสื่อสาร เป็นเล่มต่อจาก “การคิดเป็นภาพ” เนื้อหาภายในเล่มนำเสนอแบบฝึกหัด เทคนิค และหัวข้อใหม่ ๆ หลากหลายที่จะช่วยให้คุณเล่าเรื่องเป็นภาพได้ ด้วยการดูหัวข้อเหล่านี้จากมุมมองที่แตกต่างไป ตั้งแต่ “ฉันคนเดียว” “เราเป็นทีม” จนถึง “พวกเราเป็นบริษัท”

การคิดเป็นภาพ 2 = Visual thinking Read More »

การดูแลโภชนาการเบื้องต้นในผู้สูงอายุแบบองค์รวม = Basic holistic nutritional care in elderly

ผู้แต่ง : นลินี ยิ่งชาญกุล ชื่อเรื่อง : การดูแลโภชนาการเบื้องต้นในผู้สูงอายุแบบองค์รวม = Basic holistic nutritional care in elderly พิมพลักษณ์ : เชียงใหม่ : ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2565 ครั้งที่พิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่ 2 รูปเล่ม : xii, 196 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซม สารบัญ : — ความสำคัญของการดูแลโภชนาการในผู้สูงอายุ — ความหมายของภาวะทุพโภชนาการและอาหารทางด้านโภชนาการที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ — สาเหตุของปัญหาการเกิดภาวะทุพโภชนาการในผู้สูงอายุ — ขั้นตอนการประเมินภาวะโภชนาการและเครื่องมือการประเมินภาวะโภชนาการเบื้องต้น — การให้คำแนะนำเบื้องต้นในการดูแลโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุทั่วไป — การให้คำแนะนำเบื้องต้นในการดูแลโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุที่มีปัญหาจำเพาะ สาระสังเขป : หนังสือ “การดูแลโภชนาการเบื้องต้นในผู้สูงอายุแบบองค์รวม” เล่มนี้จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้อ่านได้มีความรู้พื้นฐานในการดูแลโภชนาการในผู้ป่วยสูงอายุ โดยจะเน้นการดูแลแบบองค์รวมในทุกมิติสุขภาพรวมถึงการส่งเสริมสุขภาพด้วย สามารถนำไปใช้ได้ในการทำเวชปฏิบัติทั

การดูแลโภชนาการเบื้องต้นในผู้สูงอายุแบบองค์รวม = Basic holistic nutritional care in elderly Read More »

การคิดเชิงระบบและความคิดสร้างสรรค์ = Systematic and creative thinking

ผู้แต่ง : ประจักษ์ ปฏิทัศน์ ชื่อเรื่อง : การคิดเชิงระบบและความคิดสร้างสรรค์ = Systematic and creative thinking พิมพลักษณ์ : กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565 ครั้งที่พิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่ 2 รูปเล่ม : 290 หน้า : ภาพประกอบ ; 26 ซม สารบัญ : — บทที่ 1 ทฤษฎีระบบ — บทที่ 2 ระบบร่างกาย สมอง และการเรียนรู้ — บทที่ 3 ระบบการเรียนรู้ (Learning system) — บทที่ 4 ระบบความจำ — บทที่ 5 ระบบการคิด (Thinking system) — บทที่ 6 ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) — บทที่ 7 จิตวิทยาความคิดสร้างสรรค์ — บทที่ 8 พฤติกรรมการสร้างสรรค์นวัตกรรม — บทที่ 9 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค๋ — บทที่ 10 เทคนิคการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์แบบซินเนคติคส์ สาระสังเขป : การคิดเชิงระบบและความคิดสร้างสรรค์เป็นเครื่องมือสำคัญต่อการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จในการทำงานและการดำเนินชีวิตของประชาชนทุกคนในโลกยุคดิจิทัลของศตวรรษที่ 21 ยุคที่เทคโนโลยีดิจิทัลกลายเป็นหนึ่งเดียวกับการทำงานและการดำเนินชีวิตของประชาชนอย่างแยกกันออกได้ยาก และเทคโนโลยีดิจิทัลได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบพฤติ

การคิดเชิงระบบและความคิดสร้างสรรค์ = Systematic and creative thinking Read More »

การคิดเชิงสังเคราะห์ = Synthesis-type thinking

ผู้แต่ง : เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ ชื่อเรื่อง : การคิดเชิงสังเคราะห์ = Synthesis-type thinking พิมพลักษณ์ : กรุงเทพฯ : ซัคเซส พับลิชชิ่ง, 2563 ครั้งที่พิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่ 6 รูปเล่ม : xii, 129 หน้า ; 21 ซม สารบัญ : — บทที่ 1 ความหมายของการสังเคราะห์ — บทที่ 2 ความหมายของการคิดเชิงสังเคราะห์ — บทที่ 3 เหตุใดเราจึงต้องคิดเชิงสังเคราะห์? — บทที่ 4 คิดสังเคราะห์เพื่อสร้างสรรค์…สิ่งใหม่ — บทที่ 5 คิดสังเคราะห์เพื่อสร้างสรรค์…แนวคิดใหม่ สาระสังเขป : หนังสือเล่มนี้จะช่วยคุณก้าวสู่บันไดแต่ละขั้นการฝึกฝนคิดเชิงสังเคราะห์ โดยใช้หลักจินตนาการสร้างสรรค์ หลักการสังเคราะห์ส่วนประกอบ และหลักการขยับส่วนผสม เริ่มต้นตั้งแต่การกำหนดวัตถุประสงค์ กำหนดขอบเขตประเด็นที่เกี่ยวข้อง การดึงเทคนิคและแนวคิดต่าง ๆ มาใช้การจัดเรียงแนวคิดเพื่อสร้างแกนความคิด การทดสอบโครงร่างใหม่และสุดท้าย สามารถนำสิ่งที่สังเคราะห์ได้ไปใช้ประโยชน์อย่างสูงสุด เลขเรียกหนังสือ : 153.42 ก573ก 2563 เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ : 9786168198476 คลิกเพื่อตรวจสอบสถานะหนังสือ ติดตามข้อมูลข่าวสารเพิ่

การคิดเชิงสังเคราะห์ = Synthesis-type thinking Read More »

การออกแบบนโยบายสาธารณะโดยใช้การคิดเชิงระบบ

ผู้แต่ง : การออกแบบนโยบายสาธารณะโดยใช้การคิดเชิงระบบ ชื่อเรื่อง : วชิรวัตติ์ อาริยะสิริโชติ พิมพลักษณ์ : มหาสารคาม : อาริยะสิริโชติ, 2566 ครั้งที่พิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่ 3 รูปเล่ม : 98 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 21 ซม สารบัญ : — บทที่ 1 ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ — บทที่ 2 การออกแบบนโยบายสาธารณะ — บทที่ 3 การออกแบบนโยบายสาธารณะโดยใช้การติดเชิงระบบ — บทที่ 4 กรณีศึกษา — บทที่ 5 บทสรุป สาระสังเขป : หนังสือเรื่อง “การออกแบบนโยบายสาธารณะโดยใช้การคิดเชิงระบบ” เล่มนี้เป็นหนังสือคุณภาพเล่มหนึ่งที่มีการสะท้อนแนวคิดขององค์ความรู้เกี่ยวกับนโยบายสาธารณะมาประยุกต์เพื่อการออกแบบนโยบายสาธารณะที่เป็นรูปธรรม และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จากกรณีศึกษาที่เป็นแนวปฏิบัติจากการให้บริการทางวิชาการจริง ให้เนื้อหาสาระในหนังสือดังกล่าวมีความเป็นรูปธรรม จับต้องได้ และนำไปเป็นประสบการณ์ เพื่อการบริหารงานภาครัฐและการขับเคลื่อนผลักดันนโยบายสาธารณะภาครัฐได้อย่างไม่เลื่อนลอย เหมาะสำหรับผู้ที่สนใจศึกษาด้านนโยบายสาธารณะทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติการ เลขเรียกหนังสือ : 320

การออกแบบนโยบายสาธารณะโดยใช้การคิดเชิงระบบ Read More »

สถิติการเข้าใช้บริการศูนย์วิทยบริการ (หอสมุดกลาง)

สถิติการเข้าใช้บริการศูนย์วิทยบริการ (หอสมุดกลาง)1 – 30 มิถุนายน 2567 โดยแบ่งตามคณะ ดังนี้1. คณะครุศาสตร์ จำนวน 613 ครั้ง2. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 1343 ครั้ง3. คณะวิทยาการจัดการ จำนวน 574 ครั้ง4. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน 162 ครั้ง5. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน 186 ครั้ง6. ภาคพิเศษ (กศ.บป) จำนวน 34 ครั้ง7. ประกาศนียบัตรบัณฑิต จำนวน 39 ครั้ง8. นักศึกษาปริญญาโท จำนวน 92 ครั้ง9. นักศึกษาปริญญาเอก จำนวน 8 ครั้ง10. อาจารย์ จำนวน 101 ครั้ง11. เจ้าหน้าที่ บุคลากร จำนวน 355 ครั้ง12. บุคคลภายนอก จำนวน 33 คน แบ่งตามเวลา1. ช่วงวันธรรมดา 3185 ครั้ง2. ช่วงวันหยุด (เสาร์ อาทิตย์) 331 ครั้ง #หอสมุดกลางยินดีต้อนรับทุกท่านค่ะ

สถิติการเข้าใช้บริการศูนย์วิทยบริการ (หอสมุดกลาง) Read More »

บิงโก เกมฆาตกร จุดกำเนิด

ผู้แต่ง : ปราปต์ ชื่อเรื่อง : บิงโก เกมฆาตกร จุดกำเนิด พิมพลักษณ์ : กรุงเทพฯ : แพรวสำนักพิมพ์, 2567 รูปเล่ม : 313 หน้า ; 19 ซม เนื้อเรื่องโดยสาระสังเขป : การปรากฏตัวของเกมกบฏทำให้เกิดการแตกแยกแบ่งฝ่าย ลุกลามสู่ความรุนแรงภายนอก แม้แต่การเอาชนะและต่อรองบนเวทีการเมือง ขีดขินกลายเป็นหมากที่ข้างไหนได้ตัวก่อน ฝั่งนั้นจะได้เปรียบจนอาจคว้าชัยชนะ ระหว่างหนีการไล่ล่าจากทั้งผู้เล่นในเกม เจ้าหน้าที่เกม และเจ้าหน้าที่รัฐไทย ชายหนุ่มค้นพบว่าอดีตของตัวเองที่เคยเข้าใจกลับซ่อนความลับและมันอาจเป็นเหตุให้เขาต้องสังเวยบาปในเกมนรก! ทุกเรื่องราวมีต้นตอ บางเรื่องน่าสะพรึงกลัว มีจุดกำเนิดชวนสยดสยองยิ่งกว่านั้น แต่มันจะน่ากลัวที่สุดเมื่อเราพบว่า ทั้งหมดนั่นไม่ใช่ความบังเอิญ… เลขเรียกหนังสือ : น ป172บ 2567 (นวนิยาย/ชั้น 1) เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ : 9786161862374 คลิกเพื่อตรวจสอบสถานะหนังสือ ติดตามข้อมูลข่าวสารเพิ่มเติมได้ที่Facebook Fanpage: https://www.facebook.com/arc.nstru/Line Official : https://page.line.me/gkz9087rTiktok : https://www.tiktok.com/@arcnstru

บิงโก เกมฆาตกร จุดกำเนิด Read More »

ยามเช้าของชีวิต

ผู้แต่ง : กนกพงศ์ สงสมพันธุ์ ชื่อเรื่อง : ยามเช้าของชีวิต พิมพลักษณ์ : ปทุมธานี : นาคร, 2567 รูปเล่ม : 271 หน้า : ภาพประกอบ ; 19 ซม. ครั้งที่พิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่ 2 เนื้อเรื่องโดยสาระสังเขป : คนที่เคร่งครัดวรรณกรรมบอกว่า นี่คือความเรียงแบบนวนิยาย นักอ่านทั่วไปบอกว่านี่คือนวนิยายในแบบกระแสสำนึก ชีวิตของเด็ก ๆ ในหุบเขา เรื่องราวภายในเวลา 4 วัน นับแต่นักเขียนผมยาว ผันตนเองเป็นชาวสวนอันแปลกประหลาด ปรับพื้นที่สวนรกและหาดทรายให้กลายเป็นเวทีการละเล่นอย่างสนุกสนาน ที่คิดฝันเอาว่าวันหนึ่งเพื่อนฝูงจะยกคอนเสิร์ตมาเล่นบนหาดทราย ความตื่นตาตื่นใจของเด็กในหุบเขาที่ได้เห็นแบคโฮเข้าปรับพื้นที่ บังเกิดให้เห็นถึงยามเช้าของชีวิตอันงดงามที่ยังเปี่ยมด้วยจินตนาการและความหวัง ก่อนจะถูกทำลายด้วยความทันสมัยในระบบการศึกษา เช่นเดียวกับธรรมชาติในหุบเขาอันสวยงามมีชีวิต ที่กำลังถูกทำลายด้วยการสร้างเขื่อน!! เลขเรียกหนังสือ : น ก151ย 2567 (นวนิยาย/ชั้น 1) เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ : 9786168254844 คลิกเพื่อตรวจสอบสถานะหนังสือ ติดตามข้อมูลข่าวสารเพิ่มเติมได้ที่Facebook Fanpage: https://www.facebook.com/arc.nstru/

ยามเช้าของชีวิต Read More »

ห้องเรณู

ผู้แต่ง : วิภาส ศรีทอง ชื่อเรื่อง : ห้องเรณู พิมพลักษณ์ : กรุงเทพฯ : สมมติ, 2567 รูปเล่ม : 165 หน้า ; 18 ซม เนื้อเรื่องโดยสาระสังเขป : สิ่งที่เกิดขึ้นทำให้เขาค้นพบความหวั่นหวาดขวัญผวาที่ช่อนอยู่ในจิตใจของผู้คน รวมถึงตัวเขาเองมีอันตรายนำพรั่นพร่งอยู่รอมทิศดุจหมอกพิษที่มองไม่เห็น ภัยคุกคามเร้นอยู่ทุกหนแห่งและผู้คนก็พร้อมจะประสานเสียงของความกลัวจนตื่นตระหนกแทบไม่เหลือสติ โรคระบาดผลักผู้คนเข้าสู่เบ้าหลอมเดียวกันพฤติกรรม มุมมอง กิริยาอาการ กระทั่งสีหน้าต่างล้วนดูว่างเปล่าและบึ้งตึงคล้ายกันจนแทบเป็นพิมพ์เดียว ทุกคนพากันปรับสายตาให้ชินทับความมืดมน กับวิถีดำรงอยู่ที่ร่วงลงสู่ระดับเตี้ยต่ำลงกว่าเดิม ชีวิตก่อนหน้ากลายเป็นความทรงจำที่แสนห่างไกล เลขเรียกหนังสือ : น ว362ห 2567 (นวนิยาย/ชั้น 1) เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ : 9786165620598 คลิกเพื่อตรวจสอบสถานะหนังสือ ติดตามข้อมูลข่าวสารเพิ่มเติมได้ที่Facebook Fanpage: https://www.facebook.com/arc.nstru/Line Official : https://page.line.me/gkz9087rTiktok : https://www.tiktok.com/@arcnstru

ห้องเรณู Read More »

Scroll to Top