หนังสือแนะนำ

หนังสือแนะนำ

พรีเซนต์ฉลาดต้องเน้นภาพไม่เน้นพูด = Presen shiryo no design zukan

ผู้แต่ง : มะเอะดะ, คะมะริ ชื่อเรื่อง : พรีเซนต์ฉลาดต้องเน้นภาพไม่เน้นพูด = Presen shiryo no design zukan พิมพลักษณ์ : กรุงเทพฯ : วีเลิร์น, 2567 รูปเล่ม : 325 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซม สารบัญ : บทนำ : แค่ “ดูแล้วเลียนแบบ” ก็สามารถสร้างเอกสารนำเสนอที่ทรงพลังได้! — พื้นฐานของการสร้างเอกสารนำเสนอ — การตั้งค่าสไลด์ — การถ่ายทอดข้อความ — กราฟที่เห็นแล้วเข้าใจได้ทันที — ดึงดูดความสนใจด้วยรูปลักษณ์ของสไลด์ — วิธีสร้างสไลด์ที่ทรงพลัง — การใช้แอนิเมชั่น สาระสังเขป : “ภาพสำคัญกว่าพูด” นี่คือกฎทองของการนำเสนอที่ประสบความสำเร็จ เลิกใช้ภาพเป็นแค่ส่วนประกอบ (เพราะมันพูดแทนคุณได้!) แล้วคุณจะพบกับผลลัพธ์ที่คาดไม่ถึง!หนังสือ “พรีเซนต์ฉลาด ต้องเน้นภาพ ไม่เน้นพูด : Presentation Bible” เล่มนี้ จะช่วยทำให้การนำเสนอติดตรึงใจด้วยเทคนิคเมจิกนัมเบอร์ ดึงดูดสายตาด้วยการวางกราฟฝั่งซ้าย ข้อความฝั่งขวา สะกดความสนใจด้วย “กล่องซ่อนคำตอบ” ทำสไลด์ให้อ่านง่ายด้วยการจัดวางแบบรูปตัว L คว่ำ นำเสนออะไรก็ผ่านด้วยการให้ตัวเลือกที่หลากหลา

พรีเซนต์ฉลาดต้องเน้นภาพไม่เน้นพูด = Presen shiryo no design zukan Read More »

การวางแผนและควบคุมการผลิต = Production planning and control

ผู้แต่ง : ณฐา คุปตัษเฐียร ชื่อเรื่อง : การวางแผนและควบคุมการผลิต = Production planning and control พิมพลักษณ์ : กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2566 ครั้งที่พิมพ์ : พ รูปเล่ม : 390 หน้า : ภาพประกอบ, แผนภูมิ, กราฟ ; 26 ซม สารบัญ : — การพยาการณ์ — การวางแผนการผลิตรวมและการจัดตารางการผลิตหลัก — การจัดทำวัสดุคงคลัง — การวางแผนความต้องการวัสดุ — ระบบการผลิตแบบทันเวลาระบบการผลิตแบบโตโยต้า และระบบการผลิตแบบลีน — การจัดตารางการผลิต— การบริหารโครงการ สาระสังเขป : หนังสือ “การวางแผนและควบคุมการผลิต” เล่มนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับการพยาการณ์ การวางแผนการผลิตรวมและการจัดตารางการผลิตหลัก การจัดทำวัสดุคงคลัง การวางแผนความต้องการวัสดุ ระบบการผลิตแบบทันเวลาระบบการผลิตแบบโตโยต้า และระบบการผลิตแบบลีน การจัดตารางการผลิต และการบริหารโครงการ โดยมีตัวอย่างและคำถามท้ายบท เพื่อให้ผู้อ่านได้มีโอกาสทดลองแก้ปัญหาในทุก ๆ บท สอดคล้องกับเนื้อหาที่สภาวิศวกรกำหนดซึ่งเหมาะสำหรับอาจารย์ นักศึกษาระดับปริญญาตรีและสูงกว่าปริญญาตรีที่เรียนในสาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เอกเท

การวางแผนและควบคุมการผลิต = Production planning and control Read More »

ความเป็นครู คุณลักษณะครูที่ดี สู่วิถีปฏิบัติ

ผู้แต่ง : ณิรดา เวชญาลักษณ์ ชื่อเรื่อง : ความเป็นครู คุณลักษณะครูที่ดี สู่วิถีปฏิบัติ พิมพลักษณ์ : กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2567 รูปเล่ม : (7), 221 หน้า : ภาพประกอบ ; 26 ซม สารบัญ : — มุมมองอาชีพครู — ความหมายและความสำคัญของครู — การสร้างและปรับเปลี่ยนทัศนคติ — คุณลักษณะของครูที่ดี — บทบาทหน้าที่ของครู — คุณธรรม จริยธรรมสำหรับครู — จรรยาบรรณวิชาชีพครู — ค่านิยม อุดมการณ์ และจิตวิญญาณความเป็นครู — การพัฒนาตนเองของครู สาระสังเขป : หนังสือความเป็นครู : คุณลักษณะที่ดีสู่วิถีปฏิบัติ เล่มนี้ เรียบเรียงขึ้นเพื่อประกอบการเรียนการสอนวิชาความเป็นครู ในระดับปริญญาตรี และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพครู รวมถึงครู อาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา นักศึกษาวิชาชีพครู รวมถึงผู้ที่สนใจ ได้ศึกษาถึงความเป็นครู การปฏิบัติตนและสามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้เพื่อการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองให้เป็นครูที่ดี โดยแบ่งเป็น 9 บท ประกอบด้วย บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 ความหมายและความสำคัญของครู บทที่ 3 การสร้างและปรับเปลี่ยนทัศนคติ บทที่ 4 คุณลักษณะของครูที่

ความเป็นครู คุณลักษณะครูที่ดี สู่วิถีปฏิบัติ Read More »

ครบเครื่องการจัดการเรียนรู้

ผู้แต่ง : จันทรา ด่านคงรักษ์ ชื่อเรื่อง : ครบเครื่องการจัดการเรียนรู้ พิมพลักษณ์ : กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2566 พิมพ์ครั้งที่ : พิมพ์ครั้งที่ 2 รูปเล่ม : 275 หน้า : ภาพประกอบ ; 30 ซม สารบัญ : — การวิเคราะห์หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย — การจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย— วิธีสอนภาษาไทย— เทคนิคการสอน — การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ สาระสังเขป : การจัดการเรียนรู้ให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ผู้สอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้จะต้องปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหน่งครู และจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ซึ่งหนังสือ “ครบเครื่องการจัดการเรียนรู้” เล่มนี้ มีรายละเอียดและตัวอย่างชัดเจน ครบถ้วนตั้งแต่การวิเคราะห์หลักสูตร การจัดทำคำอธิบายรายวิชา กำหนดการสอน หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ (สอดคล้องกับการประเมินแบบ PA) เลือกวิธีสอน เทคนิคการสอน สื่อการเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับตัวชี้วัดศักยภาพของผู้เรียน ประเมินผลด้วยวิธีที่หลากหลายและนำผลการประเมินมาใช้พัฒนาปรับปรุงในปีการศึกษาต่อไป เพื่อให้เกิดค

ครบเครื่องการจัดการเรียนรู้ Read More »

การบัญชี 101 = Accounting 101

ผู้แต่ง : เคเกน, มิเชล ชื่อเรื่อง : การบัญชี 101 = Accounting 101 พิมพลักษณ์ : กรุงเทพฯ : แอร์โรว์, 2567 รูปเล่ม : 287 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 24 ซม สารบัญ : –บทที่ 1 ธุรกิจการบัญชี — บทที่ 2 ใครเป็นใครในการบัญชี — บทที่ 3 ร่างกรอบแนวคิด — บทที่ 4 สินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ — บทที่ 5 รายได้ ต้นทุน และค่าใช้จ่าย — บทที่ 6 งบการเงิน — บทที่ 7 การบัญชีขับเคลื่อนไปข้างหน้า สาระสังเขป : หลักสูตรเร่งรัดในการสร้างความมั่งคั่งส่วนบุคคล รวบรวมตั้งแต่วิธีคำนวณรายได้ กำไร ไปจนถึงการระบุสินทรัพย์ และหนี้สิน ตัวช่วยศึกษาหลักการบัญชีขั้นพื้นฐานอันทรงประสิทธิภาพหนังสือ Accounting 101 เล่มนี้ จะแสดงให้ผู้อ่านเห็นว่าเพราะอะไรการบัญชีจึงเป็นศูนย์กลางของการดำเนินธุรกิจและเป็นกุญแจสำคัญในการจัดการการลงทุน มิเชลล์ เซแกน (CPA) จะแนะนำผู้อ่านเกี่ยวกับคำศัพท์พื้นฐานและทักษะที่จำเป็น โดยที่ผู้อ่านจะไม่หลับกลางทาง ผู้อ่านจะได้เรียนรู้การจัดทำงบดุล ระบุหนี้สิน และคำนวณกระแสเงินสด รวมถึงทักษะการบัญชีที่สำคัญอื่นๆ อีกมากมาย เลขเรียกหนังสือ : 657 ค515ก 2567 เลขม

การบัญชี 101 = Accounting 101 Read More »

การบัญชีชั้นกลาง 1 

ผู้แต่ง : กอบแก้ว รัตนอุบล ชื่อเรื่อง : การบัญชีชั้นกลาง 1 ครั้งที่พิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่ 8 พิมพลักษณ์ : กรุงเทพฯ : คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2567 รูปเล่ม : 1 เล่ม (ไม่เรียงเลขหน้า) ; 26 ซม สาระสังเขป : “การบัญชีชั้นกลาง 1 (ปรับปรุงใหม่ พ.ศ. 2567)” เล่มนี้ ได้มีการปรับปรุงเนื้อหาให้สอดคล้องกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุง 2566) หรือ IFRS Bound Volume 2023 และมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (TFRS for NPAEs) ปรับปรุง 2565 ในการปรับปรุงครั้งนี้ นอกจากการจะมีปรับปรุงเนื้อหาให้เป็นปัจจุบันแล้ว ยังได้มีการปรับปรุงเพิ่มเติมคำอธิบายและตัวอย่างเพื่อให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจมากยิ่งขึ้น หนังสือเล่มนี้จะเนื้อหาทั้งหมด 11 บท ดังนี้— บทที่ 1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทย — บทที่ 2 กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน — บทที่ 3 เงินสดและลูกหนี้ — บทที่ 4 สินค้าคงเหลือ-วิธีบัญชีในราคาทุน — บทที่ 5 สินค้าคงเหลือ-มูลค่าสุทธิที่จะได้รับ — บทที่ 6 หนี้สินระยะสั้น — บทที่ 7 หนี้สิ้นระยะยาว

การบัญชีชั้นกลาง 1  Read More »

การบัญชีต้นทุน = Cost accounting

ผู้แต่ง : สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์ ชื่อเรื่อง : การบัญชีต้นทุน = Cost accounting ครั้งที่พิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่ 5 พิมพลักษณ์ : กรุงเทพฯ : กรีนไลฟ์ พริ้นติ้งเฮ้าส์ จำกัด, 2566 รูปเล่ม : 489 หน้า ; 26 ซม สารบัญ : — บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน — บทที่ 2 ระบบบัญชีต้นทุนและงบการเงิน — บทที่ 3 การบัญชีเกี่ยวกับวัตถุดิบ — บทที่ 4 การบัญชีเกี่ยวกับค่าแรงงาน — บทที่ 5 การบัญชีเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายการผลิตและระบบต้นทุนฐานกิจกรรม — บทที่ 6 การบัญชีต้นทุนงานสั่งทำ — บทที่ 7 การบัญชีต้นทุนกระบวนการ — บทที่ 8 การบัญชีต้นทุนกระบวนการ (ต่อ) — บทที่ 9 การบัญชีต้นทุนมาตรฐาน — บทที่ 10 การบัญชีและการตัดสินใจ : ผลิตภัณฑ์ร่วม-ผลิตภัณฑ์พลอยได้ — เอกสารแนะนำเพิ่มเติม สาระสังเขป : การศึกษาวิชา “การบัญชีต้นทุน” ในปัจจุบันได้รับความสนใจและการยอมรับจากนักศึกษาทางการบัญชี บริหารธุรกิจ วิศวกร และบุคคลทั่วไป ทั้งนี้เพราะการพัฒนาวิชาการบัญชีต้นทุนได้ขยายวงกว้างออกไป ให้สามารถประยุกต์กับธุรกิจหรือหน่วยงานทุก ๆ ประเภทไม่เพียงแต

การบัญชีต้นทุน = Cost accounting Read More »

หลักการตลาดเพื่อการเป็นผู้ประกอบการ = Marketing principles for entrepreneurship

ผู้แต่ง : สุชาติ ไตรภพสกุล ชื่อเรื่อง : หลักการตลาดเพื่อการเป็นผู้ประกอบการ = Marketing principles for entrepreneurship พิมพลักษณ์ : กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2567 รูปเล่ม : 559 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 26 ซม ครั้งที่พิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่ 3 สารบัญ : ส่วนที่ 1 การตลาดและกระบวนการตลาด — ความเป็นผู้ประกอบการและการตลาด — การตัดสินใจทางการตลาดสำหรับผู้ประกอบการ — รูปแบบธุรกิจและการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค — การแบ่งส่วนการตลาด การกำหนดตลาด กลุ่มเป้าหมายและตำแหน่งทางการตลาด ส่วนที่ 2 การออกแบบกลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาด — นโยบายผลิตภัณฑ์สำหรับผู้ประกอบการ — นโยบายการตั้งราคาของผู้ประกอบการ — นโยบายช่องทางการจัดจำหน่ายของผู้ประกอบการ — การสื่อสารทางการตลาดสำหรับผู้ประกอบการ — ส่วนประสมการสื่อสารทางการตลาด : การสื่อสารมวลชน — ส่วนประสมการสื่อสารทางการตลาด : การสื่อสารทางดิจิทัลและการสื่อสารส่วนบุคคล — การตลาดระหว่างประเทศสำหรับผู้ประกอบการ ส่วนที่ 3 การประยุกต์ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อการประกอบการ — ก

หลักการตลาดเพื่อการเป็นผู้ประกอบการ = Marketing principles for entrepreneurship Read More »

แบรนด์ไหนจะปัง วัดที่พลังการสื่อสาร = Building A Storybrand

ผู้แต่ง : มิลเลอร์, โดนัลด์ ชื่อเรื่อง : แบรนด์ไหนจะปัง วัดที่พลังการสื่อสาร = Building A Storybrand พิมพลักษณ์ : กรุงเทพฯ : ลีฟ ริช ฟอร์เอฟเวอร์, 2566 รูปเล่ม : 287 หน้า ; 21 ซม สารบัญ : — ทำไมการตลาดส่วนใหญ่จึงเป็นหลุมดูดเงิน — กุญแจของการเป็นที่มองเห็น ได้ยิน และเข้าใจ — อาวุธลับที่ทำให้ธุรกิจคุณเติบโต — โครงสร้าง SB7 ที่เรียบง่าย — สร้างสตอรีแบรนด์ของคุณ — ตัวละคร — เกิดปัญหา — ได้พบผู้ชี้ทาง — เข้ามาเสนอแผนการ — และกระตุ้นให้ลงมือทำ— นั่นช่วยให้รอดพ้นจากความล้มเหลว — และจบลงที่ความสำเร็จ — ผู้คนอยากให้แบรนด์ของคุณมีส่วนร่วมกับการเปลี่ยนแปลงของพวกเขา — การใช้งานแบรนด์สครีปต์ของสตอรีแบรนด์ — สร้างเว็บไซต์ที่ดีกว่าเดิม — สตอรีแบรนด์เปลี่ยนแปลงองค์กรขนาดใหญ่ได้อย่างไร — แผนการตลาดสตอรีแบรนด์ — คำชื่นชมต่อโครงสร้างสตอรีแบรนด์ — แหล่งต่าง ๆ ของสตอรีแบรนด์ สาระสังเขป : ในการทำธุรกิจ หากเลือกใช้คำไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ ก็มีโอกาสสูงมากที่จะเสียลูกค้าไป นั่นคือการส

แบรนด์ไหนจะปัง วัดที่พลังการสื่อสาร = Building A Storybrand Read More »

Story Marketing 2nd Edition ทำการตลาดผ่าน “เรื่องเล่า” ต้องรู้จักการ “เล่าเรื่อง” อย่างชาญฉลาด

ผู้แต่ง : พีระวัฒน์ อุรพีพัฒนพงศ์ ชื่อเรื่อง : Story Marketing 2nd Edition ทำการตลาดผ่าน “เรื่องเล่า” ต้องรู้จักการ “เล่าเรื่อง” อย่างชาญฉลาด พิมพลักษณ์ : นนทบุรี : ไอดีซี พรีเมียร์, 2566 รูปเล่ม : 206 หน้า : ภาพประกอบ ; 23 ซม สารบัญ : Chapter 1 การตลาดเรื่องเล่าเริ่มต้นที่ การเอาใจเขามาใส่ใจเราChapter 2 การตลาดเรื่องเล่าที่ดี ต้องไม่เอาตัวเองเป็นที่ตั้งChapter 3 การตลาดเรื่องเล่าที่ดี ไม่ใช่แค่เพียงคำพูดChapter 4 การตลาดเรื่องเล่าที่ดี ต้องเลือกใช้สื่ออย่างชาญฉลาดChapter 5 การตลาดเรื่องเล่าที่ดีต้องเริ่มต้นจากเป้าหมายChapter 6 การตลาดเรื่องเล่าที่ดีจะต้องเข้าใจลูกค้าอย่างลึกสุดใจChapter 7 การตลาดเรื่องเล่าที่ดีต้องมีคาแรคเตอร์Chapter 8 การตลาดเรื่องเล่าที่ดีต้องเปลี่ยนเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่ายChapter 9 การตลาดเรื่องเล่าที่ดีต้องทำให้จดจำได้Chapter 10 การใช้งาน FrameworkChapter 11 การตลาดเรื่องเล่าที่ดีเกิดจากกระบวนการ ไม่ใช่ประสบการณ์ Story marketing frameworkChapter 12 ตัวอย่างการใช้งาน Story marketing frameworkChapter 13 การตลาดเรื่องเล่าที่ดีต้องนำไปประยุก

Story Marketing 2nd Edition ทำการตลาดผ่าน “เรื่องเล่า” ต้องรู้จักการ “เล่าเรื่อง” อย่างชาญฉลาด Read More »

Scroll to Top